วัน อังคาร ที่ 27 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
ความรู้ที่ได้รับ
มีการส่งงาน Ming map ที่อาจารย์ให้ทุกกลุ่มนำไปแก้ไข อาจารย์ได้มีการเสนอแนะเพิ่มเพราะยังมีข้อผิดพลาดอยู่ในทุกๆ กลุ่ม
- ในการเขียน Mind Map ไม่มีการใส่วงเล็บ
- ให้ไปดูแบบการเขียน Mind Map ที่ถูกต้องมา
และมีการมอบหมายงานให้แต่ละคนไปทำ Mind Map มาเป็นของตัวเอง โดยใช้สาระการเรียนรู้เรื่องเดิม ของแต่ละกลุ่ม
อาจารย์ให้แต่ละกลุ่มออกมานำเสนอเกี่ยวกับเรื่องที่ทำ โดยให้เชื่อมโยงกับเนื้อหาและทักษะทางคณิตศาสตร์ 12 ข้อ
วันศุกร์ที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
วันพุธที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 3
วัน พุทธ ที่ 21 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
ความรู้ที่ได้รับ
1. อาจารย์ได้อธิบายเกี่ยวกับงานที่ได้รับมอบหมายทีละกลุ่มเกี่ยวกับการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์
กลุ่มที่ 1 เรื่อง กล้วย ในเรื่องนี้สิ่งที่ต้องมีคือ
- ชนิด ( กล้วยไข่ กล้วยเล็บมือนาง กล้วยหอม กล้วยน้ำละว้า กล้วยหักมุก )
- ประเภท ( เราจะต้องไปดูมาว่าเราจะใช้เกณฑ์อะไรในการจัดประเภท )
- ลักษณะ ( รสชาติ สี รูปร่าง ขนาด พื้นผิว กลิ่น)
- ส่วนประกอบ ( ลำต้น ปลี ใบ หน่อ (ผล= เปลือก เนื้อ) )
- ประโชนย์ของกล้วย แบ่งออกได้เป็น ประโชยน์ในตัวมันเอง และทำให้เกิดรายได้
- วิธีการถนอมอาหาร
- การขยายพันธุ์
- การดูแลรักษา
กลุ่มที่ 2 ส้ม ( ผลส้ม) ในเรื่องนี้สิ่งที่ต้องมี คือ
- ประเภท
- ลักษณะ
- ประโชยน์
- ข้อควรระวัง
- การถนอมอาหาร
กลุ่มที่ 3 ไข่ ในเรื่องนี้สิ่งที่ต้องมี คือ
- ( ใช้หลักเหมือนกันกับ กลุ่มที่ 1 และกลุ่มที่ 2 แต่จะมีบางหัวข้อที่แตกต่างกัน )
กลุ่มที่ 4 อะไรเป็นคณิตศาสตร์ ในเรื่องนี้มันจะยากเกินไปในการทำความเข้าใจและการจัดประสบการณ์การเรื่อนรู้ ให้เปลี่ยนใหม่โดยให้หาหน่วยมาจับ
เนื้อหาและทักษะ ( นิตยา ประพฤิกิจ. 2541 : 17-19 )
1. การนับ (Counting)
2. ตัวเลข (Number)
3. การจับคู่
4. การจัดประเภท (Classification)
5. การเปรียบเทียบ
6. การจัดลำดับ (Ordering)
7. รูปทรงและพื้นที่ (Shape and Space)
8. การวัด (Measurement)
9. เซต (Set)
10. เศษส่วน (Fraction)
11. การทำตามแบบหรือลวดลาย (Patterning)
12. การอนุรักษ์หรือการคงที่ด้านปริมาณ (Conserration)
เนื้อหาและทักษะ ( เยาวพา เดชะคุปต์. 2542 : 87-88 )
1. การจัดกลุ่มหรือเซต
2. จำนวน 1-10
3. ระบบจำนวน
4. ความสัมพันธ์ระหว่างเซตต่างๆ
5. คุณสมบัติของคณิตศาสตร์จากการรวมกลุ่ม
6. ลำดับที่
7. การวัด
8. รูปทรงเรขาคณิต
9. สถิติและกราฟ
ความรู้ที่ได้รับ
1. อาจารย์ได้อธิบายเกี่ยวกับงานที่ได้รับมอบหมายทีละกลุ่มเกี่ยวกับการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์
กลุ่มที่ 1 เรื่อง กล้วย ในเรื่องนี้สิ่งที่ต้องมีคือ
- ชนิด ( กล้วยไข่ กล้วยเล็บมือนาง กล้วยหอม กล้วยน้ำละว้า กล้วยหักมุก )
- ประเภท ( เราจะต้องไปดูมาว่าเราจะใช้เกณฑ์อะไรในการจัดประเภท )
- ลักษณะ ( รสชาติ สี รูปร่าง ขนาด พื้นผิว กลิ่น)
- ส่วนประกอบ ( ลำต้น ปลี ใบ หน่อ (ผล= เปลือก เนื้อ) )
- ประโชนย์ของกล้วย แบ่งออกได้เป็น ประโชยน์ในตัวมันเอง และทำให้เกิดรายได้
- วิธีการถนอมอาหาร
- การขยายพันธุ์
- การดูแลรักษา
กลุ่มที่ 2 ส้ม ( ผลส้ม) ในเรื่องนี้สิ่งที่ต้องมี คือ
- ประเภท
- ลักษณะ
- ประโชยน์
- ข้อควรระวัง
- การถนอมอาหาร
กลุ่มที่ 3 ไข่ ในเรื่องนี้สิ่งที่ต้องมี คือ
- ( ใช้หลักเหมือนกันกับ กลุ่มที่ 1 และกลุ่มที่ 2 แต่จะมีบางหัวข้อที่แตกต่างกัน )
กลุ่มที่ 4 อะไรเป็นคณิตศาสตร์ ในเรื่องนี้มันจะยากเกินไปในการทำความเข้าใจและการจัดประสบการณ์การเรื่อนรู้ ให้เปลี่ยนใหม่โดยให้หาหน่วยมาจับ
เนื้อหาและทักษะ ( นิตยา ประพฤิกิจ. 2541 : 17-19 )
1. การนับ (Counting)
2. ตัวเลข (Number)
3. การจับคู่
4. การจัดประเภท (Classification)
5. การเปรียบเทียบ
6. การจัดลำดับ (Ordering)
7. รูปทรงและพื้นที่ (Shape and Space)
8. การวัด (Measurement)
9. เซต (Set)
10. เศษส่วน (Fraction)
11. การทำตามแบบหรือลวดลาย (Patterning)
12. การอนุรักษ์หรือการคงที่ด้านปริมาณ (Conserration)
เนื้อหาและทักษะ ( เยาวพา เดชะคุปต์. 2542 : 87-88 )
1. การจัดกลุ่มหรือเซต
2. จำนวน 1-10
3. ระบบจำนวน
4. ความสัมพันธ์ระหว่างเซตต่างๆ
5. คุณสมบัติของคณิตศาสตร์จากการรวมกลุ่ม
6. ลำดับที่
7. การวัด
8. รูปทรงเรขาคณิต
9. สถิติและกราฟ
การเรียนรู้ครั้งที่ 2
วัน พุธ ที่ 14 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
ความรู้ที่ได้รับ
** เนื่องจากต้องพาคุณป้าไปหาหมอที่โรงพยาบาลรามา เพราะไม่มีใครว่างพาไป คุณป้าต้องไปทำ Mammogram ที่เต้านม เลยจำเป็นต้องหยุดเรียน
คัดลอกเนื้อหาของ เพชรลัดดา บุตรมิตร
- อาจารย์ให้นักศึกษาวาดรูปอะไรก็ได้เพื่อใช้เป็นสัญลักษณ์ของตัวเองอาจารย์แบบช่วงเวลาเป็นสามช่วงเวลา คือ เวลาก่อนเที่ยง เวลาเที่ยง และเวลาหลังเที่ยง โดยอาจารย์จะถามนักศึกษาว่าใครมาเรียนเวลาก่อนเที่ยงบ้าง ใครที่มาเรียนในเวลาก่อนเที่ยงให้นำรูปสัญลักษณ์ที่ตัวเองวาดนำไปติดในช่องก่อนเที่ยง ทำแบบนี้ไปจนถึงเวลาหลังเที่ยง เมื่อนักศึกษาออกไปติดรูปหมดอาจารย์ก็จะให้นับจำนวนของแต่ละช่วงเวลาแล้วนำมาเปรียบเทียบกัน
ความรู้ที่ได้รับ
** เนื่องจากต้องพาคุณป้าไปหาหมอที่โรงพยาบาลรามา เพราะไม่มีใครว่างพาไป คุณป้าต้องไปทำ Mammogram ที่เต้านม เลยจำเป็นต้องหยุดเรียน
คัดลอกเนื้อหาของ เพชรลัดดา บุตรมิตร
- อาจารย์ให้นักศึกษาวาดรูปอะไรก็ได้เพื่อใช้เป็นสัญลักษณ์ของตัวเองอาจารย์แบบช่วงเวลาเป็นสามช่วงเวลา คือ เวลาก่อนเที่ยง เวลาเที่ยง และเวลาหลังเที่ยง โดยอาจารย์จะถามนักศึกษาว่าใครมาเรียนเวลาก่อนเที่ยงบ้าง ใครที่มาเรียนในเวลาก่อนเที่ยงให้นำรูปสัญลักษณ์ที่ตัวเองวาดนำไปติดในช่องก่อนเที่ยง ทำแบบนี้ไปจนถึงเวลาหลังเที่ยง เมื่อนักศึกษาออกไปติดรูปหมดอาจารย์ก็จะให้นับจำนวนของแต่ละช่วงเวลาแล้วนำมาเปรียบเทียบกัน
วันอังคารที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 1
วัน อังคาร ที่ 6 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2555
ความรู้ที่ได้รับ
- อาจารย์และนักศึกษาได้มีการกำหนดข้อตกลงร่วมกันในการเข้าชั้นเรียน โดยให้เปลี่ยนจากเวลา 14:10 - 15:30 น. เป็นเวลา 12:00 - 15:00 น. และในการเข้าชั้นเรียนถ้าเข้าช้าเกิน 15 นาที ถือว่าขาดเรียนในวันนั้น
- อาจารย์ได้มีการอธิบายเกี่ยวกับการลงทะเบียนเรียนในกับนักศึกษาที่มีข้อสงสัยในการลงทะเบียน
- อาจารย์ให้เขียนความคิดเห็นเกี่ยวกับรายวิชาดังต่อไปนี้
1. จากประโยคที่ว่า การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย ให้อธิบายความหมายตามที่เข้าใจมา 1 ประโยค
2. การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย นักศึกษาคิดว่าจะได้อะไรจากรายวิชานี้
- อาจารย์และนักศึกษาได้ร่วมกันแยกความสำคัญของรายวิชานี้ โดยแบ่งได้เป็น 3 ส่วนที่สำคัญ คือ 1. การจัดประสบการณ์
2. คณิตศาสตร์
3. เด็กปฐมวัย
- อาจารย์ได้อธิบายถึง 6 กิจกรรมหลักที่เราจะต้องรู้ว่ามีอะไรบ้าง และคณิตศาสตร์สามารถจะไปอยู่ส่วนไหนในแต่ละกิจกรรมนั้นๆ
- อาจารย์ได้อธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับขั้นพัฒนาการของเด็ก
ความรู้ที่ได้รับ
- อาจารย์และนักศึกษาได้มีการกำหนดข้อตกลงร่วมกันในการเข้าชั้นเรียน โดยให้เปลี่ยนจากเวลา 14:10 - 15:30 น. เป็นเวลา 12:00 - 15:00 น. และในการเข้าชั้นเรียนถ้าเข้าช้าเกิน 15 นาที ถือว่าขาดเรียนในวันนั้น
- อาจารย์ได้มีการอธิบายเกี่ยวกับการลงทะเบียนเรียนในกับนักศึกษาที่มีข้อสงสัยในการลงทะเบียน
- อาจารย์ให้เขียนความคิดเห็นเกี่ยวกับรายวิชาดังต่อไปนี้
1. จากประโยคที่ว่า การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย ให้อธิบายความหมายตามที่เข้าใจมา 1 ประโยค
2. การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย นักศึกษาคิดว่าจะได้อะไรจากรายวิชานี้
- อาจารย์และนักศึกษาได้ร่วมกันแยกความสำคัญของรายวิชานี้ โดยแบ่งได้เป็น 3 ส่วนที่สำคัญ คือ 1. การจัดประสบการณ์
2. คณิตศาสตร์
3. เด็กปฐมวัย
- อาจารย์ได้อธิบายถึง 6 กิจกรรมหลักที่เราจะต้องรู้ว่ามีอะไรบ้าง และคณิตศาสตร์สามารถจะไปอยู่ส่วนไหนในแต่ละกิจกรรมนั้นๆ
- อาจารย์ได้อธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับขั้นพัฒนาการของเด็ก
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)