วันพุธที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 3

วัน พุทธ  ที่ 21 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

ความรู้ที่ได้รับ

           1. อาจารย์ได้อธิบายเกี่ยวกับงานที่ได้รับมอบหมายทีละกลุ่มเกี่ยวกับการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์
            กลุ่มที่ 1  เรื่อง กล้วย  ในเรื่องนี้สิ่งที่ต้องมีคือ
                       -  ชนิด ( กล้วยไข่  กล้วยเล็บมือนาง  กล้วยหอม  กล้วยน้ำละว้า  กล้วยหักมุก )
                       -  ประเภท  ( เราจะต้องไปดูมาว่าเราจะใช้เกณฑ์อะไรในการจัดประเภท )
                       -  ลักษณะ  ( รสชาติ  สี  รูปร่าง  ขนาด  พื้นผิว  กลิ่น)
                       -  ส่วนประกอบ  ( ลำต้น  ปลี  ใบ หน่อ  (ผล= เปลือก เนื้อ) )
                       -  ประโชนย์ของกล้วย  แบ่งออกได้เป็น ประโชยน์ในตัวมันเอง  และทำให้เกิดรายได้
                       -  วิธีการถนอมอาหาร
                       -  การขยายพันธุ์
                       -  การดูแลรักษา

           กลุ่มที่ 2 ส้ม ( ผลส้ม)  ในเรื่องนี้สิ่งที่ต้องมี  คือ
                       -  ประเภท
                       -  ลักษณะ
                       -  ประโชยน์
                       -  ข้อควรระวัง
                       -  การถนอมอาหาร
      
          กลุ่มที่ 3 ไข่  ในเรื่องนี้สิ่งที่ต้องมี  คือ
                       -  ( ใช้หลักเหมือนกันกับ กลุ่มที่ 1 และกลุ่มที่ 2  แต่จะมีบางหัวข้อที่แตกต่างกัน )

          กลุ่มที่ 4 อะไรเป็นคณิตศาสตร์  ในเรื่องนี้มันจะยากเกินไปในการทำความเข้าใจและการจัดประสบการณ์การเรื่อนรู้  ให้เปลี่ยนใหม่โดยให้หาหน่วยมาจับ

เนื้อหาและทักษะ   ( นิตยา ประพฤิกิจ. 2541 : 17-19 )
                 1.  การนับ  (Counting)
                 2.  ตัวเลข   (Number)
                 3.  การจับคู่  
                 4.  การจัดประเภท   (Classification)
                 5.  การเปรียบเทียบ
                 6.  การจัดลำดับ   (Ordering)
                 7.  รูปทรงและพื้นที่   (Shape and Space)
                 8.  การวัด   (Measurement)
                 9.  เซต   (Set)
                10. เศษส่วน   (Fraction)
                11. การทำตามแบบหรือลวดลาย   (Patterning)
                12. การอนุรักษ์หรือการคงที่ด้านปริมาณ   (Conserration)

เนื้อหาและทักษะ   ( เยาวพา  เดชะคุปต์. 2542 : 87-88 )
                 1.  การจัดกลุ่มหรือเซต
                 2.  จำนวน 1-10
                 3.  ระบบจำนวน
                 4.  ความสัมพันธ์ระหว่างเซตต่างๆ
                 5.  คุณสมบัติของคณิตศาสตร์จากการรวมกลุ่ม
                 6.  ลำดับที่
                 7.  การวัด
                 8.  รูปทรงเรขาคณิต
                 9.  สถิติและกราฟ














 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น